5 ทางแก้นิสัยขี้โมโหให้กลายเป็นคนใจเย็นขึ้น (เตือนสติเวลาโกรธ)

0
1088

5 วิธีแก้นิสัยคนขีโมโหให้กลายเป็นคนใจเย็น(กว่าเดิม)

1. ระงับคำพูดและการกระทำในยามที่โกรธคือหากรู้สึกว่า อารมณ์กำลังพลุ่งพล่าน

ให้สงบนิ่งไว้ จำไว้เสมอว่า…ความคิดใดๆคำพูดใดๆการกระทำใดๆหากมีขึ้นในยามโก รธ

มักเป็นไปในทางทำลายรุ นแร งอาจสะใจชั่วครู่ แต่สุดท้ายจะไม่เป็นผลดี

ก ฏเหล็กเบื้องต้นที่ต้องทำให้ได้คือ…เราจะไม่พูดหรือทำอะไรเด็ดข าดในย ามที่โกร ธ

รอให้ใจเย็นก่อน หายโก รธก่อนแล้วค่อยว่ากัน

2. พิจารณาโท ษของความโก รธและประโยชน์ของความเมตตาคือให้ย้อนคิดถึงชีวิตที่ผ่านมา

ว่าเราเสียอะไรไปบ้างเพราะความโก รธทำใครเสียใจกี่คน ทำลายโอกาสไปเท่าไหร่

ทำลายความสัมพันธ์ไปอย่างไรสิ่งเหล่านี้ให้น้อมมาคิดบ่อยๆ คิดซ้ำให้มากๆ

พิจารณาจนใจยอมรับ หมดข้ออ้างอย ากปรับปรุงตนเองด้วยความเต็มใจ

เพราะมั่นใจแล้วว่า ความโกรธไม่ใช่ของดีแต่เป็นสิ่งที่ทำลายความสุขและความเจริญ

ทั้งของเรา คนที่เรารัก และคนที่รักเราไม่มีใครได้อะไรเลยจากความโก รธ

ธรรมชาติคนเราไม่ชอบให้ใครมาสั่งตราบที่เรายังไม่ต กผลึ กยอมจำนนด้วยตนเองว่า

ถึงเวลาแล้วที่เราต้องเปลี่ยนตนเองใครจะพูดใครจะบอกจะสอนก็ย ากยิ่งที่คนเราจะเปลี่ยนแปลง

เช่นนี้แล้ว เราจึงต้องทำตัวเป็นครูของตัวเองเพื่อสั่งสอนตนเองให้เห็นพิ ษภั ยของความโก รธเกลียดอารมณ์ทำลาย

3. สร้างความสุขเล็กๆน้อยๆให้ผู้อื่นจนเป็นนิสัยคือให้รู้จักชื่นชม ให้กำลังใจผู้คนบ่อยๆ

เมื่อทำให้เขามีความสุขแล้วให้เรารู้จักเอาใจไปสัมผัสความรู้สึกนั้นเรียกว่า ให้ใจเราดื่มด่ำ

กับความรู้สึกที่เย็นใจอยู่เสมอเราอาจจะลองเปรียบเทียบกันดูก็ได้ว่าอารมณ์ลักษณะนี้ กับอารมณ์ในยามที่โก รธ

แบบไหนดีกว่ากันถ้าใจเราคุ้นกับความรู้สึกที่ดีมันจะค่อยๆเบื่อหน่ายความโกรธเกลียดชิ งชั งไปทีละน้อย

ในข้อนี้เป็นการแ ก้กิเล สด้วยกุศ ลฝ่ายตรงข้ามถ้าความโกรธเป็นด้านมืดในที่นี้ด้านสว่างก็คือความเมตตา

เราอาจขับไล่ความมืดไม่ได้แต่ถ้าเราจุ ดไ ฟได้ ความมืดจะหายไปและความสว่างจะเข้ามาแทนที่

ภาษาธรรมเรียกสิ่งนี้ว่า การทวนกระแสกิเล สคือใช้ธรรมคู่ตรงข้ามมาจัดการกิเล สให้เบาบาง

4. ฝึกมองความรู้สึกด้วยใจที่เป็นกลางในข้อนี้คือธรรมะชั้นลึก เป็นการเจริญสติ

คือเราฝึกมองดูอารมณ์ต่างๆของเราด้วยใจที่เป็นกลางเหมือนความคิดความรู้สึกนั้นไม่ใช่เรา

ดีใจก็ไม่เข้าไป เสียใจก็ไม่เข้าไปคนชื่นชมก็วางไว้ คนนินทาก็วางไว้ฝึกให้เห็นว่าอารมณ์ความคิดเหล่านี้

หากใจเราเข้าไปยึดสุดท้ายก็ไม่ดีทั้งนั้นเพราะยึดข้างหนึ่ง อีกข้างก็จะตามมาด้วยเหมือนในกำเหรียญไว้ในมือ

ก็จะได้ทั้งหัวทั้งก้อยมาในคราเดียวรักสุขก็จะได้ทุ กข์เป็นของแถมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

ในข้อนี้หากฝึกบ่อยๆ นอกจากความโกรธแล้วยังช่วยกำจัดลดทอนพลังความคิดด้านล บได้ทั้งหมด

เช่นความเศร้าความเหงาความเบื่อต่างๆจิตใจจะเป็นกลาง หนักแน่นมากขึ้น

5. รู้จักอยู่ รู้จักจุดอ่อนจุดแข็ งของตนคือให้รู้จักสังเกตตัวเองหากเราโก รธใครบ่อยๆ

เวลาอยู่ใกล้ก็ให้ระวังบางครั้ง กับคนบางคนให้สังเกตดูเถิดว่า เราก็โกรธเขา

โกรธคนๆนี้ จนกลายเป็นความเคยชินเพียงเห็นหน้ายังไม่ทันทำอะไร

ใจก็วูบๆไหวๆ ความหงุดหงิดก็เริ่มเข้ามาตรงนี้ควรหลีกเลี่ยงการปะทะทั้งนี้ในกรณีที่เลี่ยงไม่ได้จริงๆ

เช่นเป็นคนในครอบครัว เป็นสามีภรรย าเป็นลูก เป็นเจ้านาย ลูกน้อง เพื่อนฝูง อย่างนี้ก็ให้ยกเอาสิ่งที่เขาทำขั ดใจเรา

มาเป็นเครื่องมือในการฝึกใจของเรา ฝึกอภั ยดีกว่าปล่อยใจของเราให้ต กต่ำไป

เพราะมัวแต่ทะเลาะกับเขาให้เอาความขัดแย้ งนั้นมาบ่มเพาะความรัก เมตตาขอให้เรารับทราบไว้ว่า โดยมากแล้ว

หากไม่ลงรอยกันแต่มีความจำเป็นต้องอยู่ร่วมกันตัดกันไม่ข าด แย กกันไม่ข าดสิ่งนี้มักเกิดจากมีบุญก ร ร ม

สัมพันธ์ร่วมกันมานานกลายเป็นแรงก ร ร มผูกพัน ผู กรั้งไม่ให้ไปไหนอย่างนี้ยิ่งต้องรู้จักระวัง ระงับ สำรวม

อย่าไปสร้างกรรมให้กันและกันเพิ่มขึ้นการเป็นคนโกรธง่าย ไม่มีอะไรดีมีแต่เสียประโยชน์ เสียทั้งสุขภาพกายใจ

ทำลายความสัมพันธ์ ทำลายหน้าที่การงานทำลายบารมีในตนกลายเป็นคนที่สร้างความทุ กข์ให้ผู้อื่น

และตนเองก็หาความสุขได้ย าก5 ข้อนี้ ฝึกแรกๆจะทำได้ย ากแต่ขอให้อดทนฝึกทำทุกข้ออย่างสม่ำเสมอ

สำคัญคือต้องมีกำลังใจ และวินัยฝึกแรกๆอย่าปล่อยใจตามความเคยชินของตัวเองสุดท้ายแล้วเราต้องมีความเข้าใจว่า

การลดมานะอัตตาของตนลดความโกรธเกลียดของตนเราไม่ได้ทำเพื่อใครแต่เราทำเพื่อยกระดับจิตใจของตนเอง

เพื่อความสุขของเราเองจริงอยู่สิ่งนี้ไม่ใช่ของง่าย แต่ถ้าทำได้วันหนึ่ง รู้จะสัมผัสถึงความเบาใจของชีวิต

มีชีวิตที่เบาขึ้น สบายขึ้นถึงวันนั้นเราจะยินดี และรู้สึกขอบคุณตนเองรู้สึกภูมิใจว่า เราสามารถข้ามผ่านตัวตนเก่าๆ

ไปสู่ตัวตนใหม่ที่ดีกว่าเดิมและสิ่งนี้คือการมอบความรักและความเมตตาให้ตนเองอย่างแท้จริง…

 

ขอบคุณ : พ ศิ น อิ น ท ร ว งค์

ทิ้งคำตอบไว้

กรุณาใส่ความคิดเห็นของคุณ!
กรุณาใส่ชื่อของคุณที่นี่